Neric-Club.Com
  สารบัญเว็บไซต์
  ทรัพยากรคลับ
  พิพิธภัณฑ์หุ่นกระดาษ
  เปิดประตูสู่อาเซียน@
  พันธกิจขยายผล
  ชุมชนคนสร้างสื่อ
  คลีนิคสุขภาพ
  บริหารจิต
  ห้องข่าว
  ตลาดวิชา
   นิตยสารออนไลน์
  วรรณกรรมเพื่อเยาวชน
  ลมหายใจของใบไม้
  เรื่องสั้นปันเหงา
  อังกฤษท่องเที่ยว
  อนุรักษ์ไทย
  ศิลปวัฒนธรรมไทย
  ต้นไม้ใบหญ้า
  สายลม แสงแดด
  เตือนภัย
  ห้องทดลอง
  วิถีไทยออนไลน์
   มุมเบ็ดเตล็ด
  เพลงหวานวันวาน
  คอมพิวเตอร์
  ความงาม
  รักคนรักโลก
  วิถีพอเพียง
  สัตว์เลี้ยง
  ถนนดนตรี
  ตามใจไปค้นฝัน
  วิถีไทยออนไลน์
"ในยุคสมัยแห่งโลกแฟนตาซี ปลาใหญ่ไม่ทันกินปลาเล็ก ปลาเร็วไม่ทันกินปลาช้า ปลาตะกละฮุบเหยื่อโผงโผง โง่ยังเป็นเหยื่อคนฉลาด อ่อนแอเป็นเหยื่อคนเข้มแข็ง คนวิถึใหม่ต้องฉลาด เข้มแข็ง เสียงดัง มีเงินเป็นอาวุธ
ดูผลโหวด
 
 

'องค์ความรู้ในโลกนี้มีมากมาย
เหมือนใบไม้ในป่าใหญ่
มนุษย์เราเรียนรู้ได้
แค่ใบไม้หนึ่งกำมือของตนเอง
ผู้ใดเผยแผ่ความรู้
อันเป็นวิทยาทานแก่ผู้อื่น
นั่นคือกุศลอันใหญ่ยิ่ง'
 
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า












           




             ซ่อมได้ 


สถิติผู้เยี่ยมชมเวปไซต์
14033849  

ศิลปวัฒนธรรมไทย

 



เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๑ คุณครูหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้ตามเสด็จสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาภานุพันธ์วงศ์วรเดช ไปประเทศชวา และได้จำเพลงของชาวนาได้หลายเพลง ซึ่งบางเพลงก็ได้ทราบชื่อจากนักดนตรีชวาบ้าง บางเพลงก็ไม่ทราบชื่อ สมมุติชื่อเรียกเองตามชื่อเมืองที่จำเพลงนั้นมาบ้าง เพลงบูเซ็นช็อคนี้ก็เป็นเพลงหนึ่ง ซึ่งเข้าใจว่าคงจะได้ตั้งชื่อขึ้นจากเมือง ๆ หนึ่งของชวา คือเมืองบูเซ็น ช็อคหรือบูเต็นช็อคนั่นเองผู้ที่ให้ท่ารำคืออาจารย์ลมุลยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทยแห่งวิทยาลัยนาฏศิลป์กับครูฝน โมรากุล ร่วมกันประดิษฐ์ท่าร่ายรำให้เข้ากับจังหวะและท่วงทำนองเพลง แต่ไม่เรียกว่า รำเพลงบูเซ็นช็อค เรานิยมเรียกกันว่ารำชวา

เป็นระบำที่อาจารย์ลมุล ยมะคุปต์ และอาจารย์ผัน โมรากุล ร่วมกันประดิษฐ์ท่าร่ายรำให้เข้ากับจังหวะ และท่วงทำนองเพลงบูเซ็นซ็อค ซึ่งคุณครูหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้จดจำเพลงมาจากชวา



ละคร
ละครชาตรี
การแต่งกายละครชาตรี
ละครโนรา
ละครนอก
ละครใน
ละครพันทาง
การแสดงพื้นเมืองของไทย
ภาคเหนือ
ภาคกลาง
เพลงพวงมาล้ย
การรำแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ
การรำแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน
การรำพื้นเมืองภาคใต้
ความหมายของคำว่า
ประเภทของระบำ
ประเภทของการรำ
ประเภทของการฟ้อน
การแสดงเบ็ดเตล็ด
กำเนิดของโขน
การแสดงกระบี่กระบอง
การแสดงหนังใหญ่
ประเภทของโขน
โขนหน้าจอ
ตัวละครในการแสดงโขน
ตัวนาง
ตัวยักษ์
ตัวลิง
เรื่องที่ใช้ในการแสดงโขน
บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงศรีอยุธยา
บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงธนบุรี
บทละครรามเกียรติ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ดนตรีที่ใช้บรรเลงในการแสดงโขน
โขนโรงใน
รำวงมาตรฐาน
คำร้อง/ทำนอง รำวงมาตรฐาน
เครื่องดนตรี /การแต่งกาย รำวงมาตรฐาน



หน้าที่ :: 8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18  


Copyright © 2012 Neric-Club.Com All Rights Reserved